ติดตั้ง gps รถยนต์

ติดตั้ง gps รถยนต์

 

ติดตั้ง gps รถยนต์ ติด จี พี เอ ส รถยนต์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการทำงานของซอฟต์แวร์ติดตาม GPS แบบเปิดรหัสร่วมกับ สมาร์ตโฟนสำหรับติดตาม บันทึกเส้นทาง ความเร็ว ตำแหน่งของรถขนส่ง โดยตรวจสอบตำแหน่งพิกัด ด้วยการรับสัญญาณจากดาวเทียม GPS แล้วส่งข้อมูลตำแหน่งและข้อมูลอื่น ๆ จากซอฟต์แวร์ไคลเอนต์ ที่ติดตั้งในสมาร์ต

โฟนด้วยการรับส่งข้อมูลของโทรศัพท์ เคลื่อนที่เช่น GPRS มาจัดเก็บที่เซิร์ฟเวอร์ เพื่อแสดงตำแหน่งและเส้นทางของรถขนส่งบนแผนที่ โดยนำไปใช้งานกับผู้ประกอบ การน้ำดื่มทิพย์เขลางค์ แล้วใช้แบบประเมินความพึงพอใจ ของผู้ใช้งานและประสิทธิภาพ จากผู้ใช้งานจำนวน 15 คน

ผลการศึกษาการประเมินความพึง พอใจต่อการใช้งานระบบด้านการแสดงผล มีการจัด หมวดหมู่ข้อมูลสำหรับแสดงผลอยู่ในระดับดีมากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 การใช้รูปแบบของตัวอักษร อยู่ในระดับดีมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 ด้านประสิทธิภาพ ความถูกต้องในการสืบค้นข้อมูลอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.67 ความถูกต้องของ

การแสดงผลบนแผนที่อยู่ในระดับดีมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.93 ด้านการใช้งาน แผนที่มีความถูกต้องอยู่ในระดับดีมากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.67 ความสะดวกในการ ค้นหาข้อมูลอยู่ในระดับดีมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.80

จากการศึกษาพบว่าสามารถ นำไปใช้งานทดแทน การใช้ซอฟต์แวร์และอุปกรณ์ การติดตาม ที่มีจำหน่ายอยู่ได้และมีค่าใช้จ่าย ในการใช้งานที่ถูกกว่า ในการแสดงตำแหน่งของรถขนส่งบนแผนที่ ได้ถูกต้องเมื่อกำหนด ให้ส่งข้อมูลไปยังเซิร์ฟเวอร์ในระยะเวลา 7 วินาที

ในยุคปัจจุบันนั้นทุก ๆ คน คงทราบและรู้จักกับ GPS กันเป็นอย่างดี เพราะเราใช้งาน ติดตั้ง gps รถยนต์ กันมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะสมาร์ทโฟนใน ปัจจุบันที่มีเทคโนโลยี GPS ติดมาด้วยแทบทุกเครื่องเป็นปัจจัยหลักไป เป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่วันนี้เราอธิบายกันถึงเรื่อง GPS ติดตามรถ ที่มีทั้งแบบ รายเดือน และ ไม่มีรายเดือนกัน เหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง

หลักการทำงานคร่าว ๆ

เป็นที่ทราบกันดีว่า ระบบ GPS คือระบบที่สามารถระบุตำแหน่งคน, อุปกรณ์ หรือสถานที่ต่าง

  1. อุปกรณ์ส่งสัญญาณ :อุปกรณ์ที่สามารถระบุพิกัดที่อยู่และส่งสัญญาณออกไปยังดาวเทียมได้ ตัวอย่างเช่น สมาร์ทโฟน, อุปกรณ์ GPS ต่าง ๆ เป็นต้น
  2. ดาวเทียม GPS :ดาวเทียม GPS จะโคจรอยู่รอบ ๆ โลก เพื่อรับพิกัดจากอุปกรณ์ส่งสัญญาณ ซึ่งมีจำนวนมากในปัจจุบัน และสามารถส่งพิกัดได้อย่างแม่นยำมากขึ้น
  3. ส่วนควบคุม :เช่น จานรับสัญญาณ, เสารับสัญญาณ ที่มีสถานีภาคพื้นดินตามจุดต่าง ๆ ครอบคลุมทั่วโลก ที่จะรับพิกัดมาแปลงลงบนซอฟต์แวร์ เพื่อแสดงผลให้สำหรับผู้ใช้งานเห็นในรูปแบบต่าง ๆ

อุปกรณ์ GPS ที่เราถืออยู่ในมือนั้น จำเป็นต้องตัวรับสัญญาณ ดาวเทียม ซึ่งจะมีหน่วยการประมวลผล (CPU) ที่จะคอยแปลงรหัสสัญญาณพิกัด เพื่อนำมาใช้งานในโปรแกรมต่อไป ดังนั้นการรับส่งข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้ ย่อมต้องมีการใช้เครือข่ายเพื่อให้การรับส่งข้อมูลทำได้อย่างต่อเนื่อง

สรุปแล้วคืออุปกรณ์เราจะยิงสัญญาณ ออกไปยังดาวเทียม และดาวเทียมหลายดวงจะรับสัญญาณและสะท้อนกับ ดาวเทียมอีกหลายดวง เพื่อหาตำแหน่งที่รับสัญญาณที่ถูกต้อง และส่งกลับมาที่อุปกรณ์หรือสถานีภาคพื้น เพื่อแสดงตำแหน่งที่ อยู่บนพื้นโลกของเรานั้นเอง

จะใช้งาน จำเป็นต้องใช้อินเตอร์เน็ตหรือไม่?

มาถึงตรงนี้ เราอาจะเริ่มสงสัยแล้วว่า และอุปกรณ์ของเรานั้นจะส่งสัญญาณออกไปได้อย่างไร และรับมาอย่างไร อุปกรณ์รับส่งสัญญาณ GPS นั้นส่วนมากไม่จำเป็นต้องต่ออินเตอร์เน็ตก็ได้ แต่การส่งสัญญาณจะเป็นในรูปแบบยิงและรับ เป็นช่วง ๆ ซึ่งจะนำไปใช้งานในแบบที่เราไม่จำเป็นต้องการทราบที่อยู่ของเราแบบทุกย่างก้าว แต่ใช้เพื่อให้ทราบตำแหน่งปัจจุบันเพียงเท่านั้น

และดาวเทียมหลายดวงจะรับ สัญญาณและสะท้อน กับดาวเทียมอีกหลายดวง เพื่อหาตำแหน่งที่รับสัญญาณที่ถูกต้อง และส่งกลับมาที่อุปกรณ์ หรือสถานีภาคพื้น เพื่อแสดงตำแหน่งที่อยู่ บนพื้นโลกของเรานั้นเอง

ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้ จะเป็นอุปกรณ์ที่ทำขึ้นมาเพื่อระบุ ตำแหน่งเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถนำมาใช้เพื่อการนำทางได้ ส่วน GPS ที่ใช้งานอินเตอร์เน็ต จะสามารถรับส่งข้อมูลได้รวดเร็วและถี่มากขึ้น เพราะมีเครือข่ายสัญญาณ ที่สามารถรับส่งข้อมูลได้ตลอดเวลา จึงสามารถนำมาประยุกต์เพื่อใช้ใน การนำทางได้ แต่ขึ้นอยู่กับว่า สถานที่นั้นสามารถรับสัญญาณอินเตอร์เน็ตได้หรือไม่

เมื่อทราบการทำงานของ GPS กันแล้วก็เริ่มเข้าเรื่องกันได้เลย อย่างที่อธิบายไปข้างต้นนั้น อุปกรณ์รับส่งสัญญาณ GPS ที่ไม่มีอินเตอร์เน็ตหรือ สัญญาณโทรศัพท์ จะสามารถส่งพิกัดตำแหน่งได้เป็นช่วง ๆ เท่านั้น ซึ่งการใช้งาน GPS ในปัจจุบันที่เรากันอยู่นั้น ต้องการความแม่นยำและแสดงให้เห็น การเคลื่อนไหวตลอดเวลาแบบ Real-Time นั่นเอง

ซึ่งการใช้งาน GPS ที่สามารถแสดงตำแหน่งที่ ตั้งได้ตลอดเวลา จำเป็นต้องมีการส่งสัญญาณที่ต่อเนื่อง จึงจำเป็นต้องใช้งานซิมการ์ดโทรศัพท์ เพื่อให้สามารถ รับสัญญาณได้ตลอดเวลา และเมื่อใช้งานซิมการ์ดก็ จำเป็นต้องมีแม่ข่าย หรือเครือข่ายโทรศัพท์นั้น ๆ เราจึงจำเป็นต้อง จ่ายค่าเครือข่ายเหล่านั้นนั่นเอง

หลังจากที่เราอ่านสิ่งที่ผมอธิบายมาข้างต้น ก็น่าจะพอทราบกันได้บ้างแล้วใช้ไหมครับ ว่าความแตกต่างของมันอยู่ที่ การรับส่งสัญญาณได้ถี่แค่ไหน นั่นเอง หากคุณต้องการเพียงแค่ทราบตำแหน่งเป็นครั้งคราว ก็ไม่จำเป็นต้องใช้งานแบบรายเดือน แต่หากคุณต้องการทราบตำแหน่งที่แน่นอนและเป็น  ปัจจุบันก็จำเป็นที่จะต้องจ่ายให้กับค่าบริการเครือข่ายดังกล่าว
เรามาดูข้อดี และ ข้อเสีย ของ GPS ติดตามรถ ไม่มีรายเดือน และ GPS ติดตามรถแบบที่เราจ่ายรายเดือนกัน

ติดตามรถ ไม่มีรายเดือน

ข้อดี :

  • ไม่จำเป็นต้องจ่ายรายเดือน
  • อุปกรณ์ไม่จำเป็นต้องใช้พลังงานมาก เพราะอุปกรณ์จะส่งสัญญาณเป็นช่วง ๆ เท่านั้น

ข้อเสีย :

  • ไม่สามารถติดตามแบบ Real-Time หรือทราบตำแหน่งที่แน่นอนในปัจจุบันได้ (เพราะสัญญาณที่ส่งล่าสุด อาจจะเป็น 5-10 นาที ที่แล้ว
  • นำมาใช้เพื่อการนำทางไม่ได้ เพราะระบุตำแหน่งได้ช้าเกินไป อาจทำให้หลงทางได้ง่าย

GPS ติดตามรถ แบบรายเดือน

ข้อดี :

  • สามารถระบุตำแหน่งที่แม่นยำกว่า และเป็นปัจจุบันได้
  • สามารถนำไปใช้ในการติดตาม หรือ นำทางได้
  • ข้อเสีย :
  • จำเป็นต้องจ่ายค่าบริการรายเดือนให้กับเครือข่าย
  • จำเป็นต้องมีไฟเลี้ยงตลอดเวลา เช่น แบตเตอรี่ในมือถือ หรือในรถยนต์ ก็จะพ่วงกับแบตรถยนต์ เป็นต้น

การใช้งาน GPS ติดตามรถ ทั้งแบบ จ่ายรายเดือน และไม่จ่ายรายเดือน นั้น ไม่ได้มีอันไหนแย่ไปกว่ากัน แต่เราควรทราบถึงการใช้งานของเราก่อนว่าจำเป็นหรือต้องการใช้ GPS ในรูปแบบใด หากเราต้องการทราบตำแหน่งที่ไม่มีการเคลื่อนไหว

  • ก็ใช้แบบที่ไม่ต้องจ่ายรายเดือน แต่หากเราต้อง ใช้งานในการติดตาม หรือนำทาง ก็จำเป็นต้องใช้แบบจ่ายรายเดือน

ค่าใช้จ่ายของ GPS รายเดือนนั้น ในยุคนี้ ค่อนข้างถูกขึ้นมาก หากเทียบกับเมื่อก่อน เครือข่ายโทรศัพท์ในยุคปัจจุบันนั้น ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ไปแล้ว ดังนั้นส่วนมากจะขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ ความแรงของสัญญาณรับส่ง เช่น 3G 4G และซอฟต์แวร์ นั่นเอง

สนใจติดต่อ GeniusGPS

www.savecyber.in.th